top of page
รูปภาพนักเขียนMindDoJo Thailand

เข้าใจการ Coaching ผ่าน TAPS MODEL กับ MindDoJo


เข้าใจการ Coaching ผ่าน TAPS MODEL กับ MindDoJo

เข้าใจการ Coaching ผ่าน TAPS MODEL เมื่อ Coaching ไม่ใช่การพัฒนานักกีฬาในทีมอีกต่อไป องค์กรใหญ่ในปัจจุบันเริ่มนำกระบวนการ Coaching มาใช้กันอย่างแพร่หลาย แต่! คุณรู้ได้อย่างไรว่าสิ่งที่กำลังทำอยู่คือการ Coaching จริง ๆ TAPS MODEL ของ Dr.David Rock จาก NeuroLeadership Institute จะทำให้คุณเห็นภาพของการ Coaching เพื่อใช้เป็นเครื่องมือช่วยพัฒนาคนได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น


โดย TAPS MODEL เกิดจากการย่อของตัวอักษรทั้งหมด 4 ตัว นั่นก็คือ

T คือ Tell หมายถึง บอก

A คือ Ask หมายถึง ถาม

P คือ Problem หมายถึง ปัญหา

S คือ Solution หมายถึง ทางออก

(4 คำนี้ปรากฏบนภาพข้างต้นที่เป็นลูกศรเส้นตรง)

ดย TAPS MODEL เกิดจากการย่อของตัวอักษรทั้งหมด 4 ตัว นั่นก็คือ T คือ Tell หมายถึง บอก A คือ Ask หมายถึง ถาม P คือ Problem หมายถึง ปัญหา S คือ Solution หมายถึง ทางออก (4 คำนี้ปรากฏบนภาพข้างต้นที่เป็นลูกศรเส้นตรง)

และเมื่อเส้นตรงทั้ง 2 เส้นตัดกัน ทำให้เห็นถึงความแตกต่างของแต่ละส่วนได้ชัดเจน และสิ่งนี้คือแนวทางในการทำความเข้าใจกระบวนการให้คำปรึกษา ให้ข้อเสนอแนะ การเป็นพี่เลี้ยง และการโค้ชชิ่งที่ไม่เหมือนกันนั่นเอง มาดูกันดีกว่าว่าในแต่ละส่วนใช้อย่างไร และมีความแตกต่างกันอย่างไรบ้าง

T (Tell) + P (Problem) = Consulting (การเป็นที่ปรึกษา) หากคุณบอกถึงประเด็นที่เป็นปัญหา ชวนพูดคุยเกี่ยวกับปัญหาที่เกิดขึ้น แสดงว่าคุณกำลังทำใช้การ Consulting (การเป็นที่ปรึกษา)  ในองค์กรเพราะสิ่งนี้คือการมุ่งเน้นที่ปัญหาอย่างตรงไปตรงมา เพื่อนำไปสู่กระบวนการต่อไป
T (Tell) + P (Problem) = Consulting (การเป็นที่ปรึกษา) หากคุณบอกถึงประเด็นที่เป็นปัญหา ชวนพูดคุยเกี่ยวกับปัญหาที่เกิดขึ้น แสดงว่าคุณกำลังทำใช้การ Consulting (การเป็นที่ปรึกษา) ในองค์กรเพราะสิ่งนี้คือการมุ่งเน้นที่ปัญหาอย่างตรงไปตรงมา เพื่อนำไปสู่กระบวนการต่อไป


T (Tell) + S (Solution) = Mentoring (การเป็นพี่เลี้ยง) หากบอก Solution หรือแนวทางแก้ไขปัญหา เพื่อที่จะให้คนในองค์กรนำแนวทางดังกล่าวไปใช้แก้ไขปัญหาเลย แสดงว่าคุณกำลังทำ Mentoring (การเป็นพี่เลี้ยง) หลาย ๆ องค์กรมักเข้าใจว่าการ Mentoring คือการ Coaching ซึ่งแท้จริงแล้วไม่ใช่อันเดียวกัน
T (Tell) + S (Solution) = Mentoring (การเป็นพี่เลี้ยง) หากบอก Solution หรือแนวทางแก้ไขปัญหา เพื่อที่จะให้คนในองค์กรนำแนวทางดังกล่าวไปใช้แก้ไขปัญหาเลย แสดงว่าคุณกำลังทำ Mentoring (การเป็นพี่เลี้ยง) หลาย ๆ องค์กรมักเข้าใจว่าการ Mentoring คือการ Coaching ซึ่งแท้จริงแล้วไม่ใช่อันเดียวกัน

A (Ask) + P (Problem) = Counseling (การให้คำปรึกษา) หากคุณให้ความสำคัญกับการตั้งคำถาม โดยใช้คำถามเพื่อปลดปล่อย หรือปลดล็อกข้อจำกัดที่เป็นปัญหา จนสามารถเข้าใจถึงปัญหา แสดงว่าคุณกำลังทำกระบวนการ Counseling (การให้คำปรึกษา) อยู่
A (Ask) + P (Problem) = Counseling (การให้คำปรึกษา) หากคุณให้ความสำคัญกับการตั้งคำถาม โดยใช้คำถามเพื่อปลดปล่อย หรือปลดล็อกข้อจำกัดที่เป็นปัญหา จนสามารถเข้าใจถึงปัญหา แสดงว่าคุณกำลังทำกระบวนการ Counseling (การให้คำปรึกษา) อยู่

A (Ask) + S (Solution) = “Coaching” (การโค้ช)  หากคุณใช้คำถามเป็นหลัก แต่เป็นคำถามแบบไม่ชี้นำ เพื่อชวนคิดจนสามารถหา Solution บางอย่างที่ทำให้สามารถปฎิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพได้ สิ่งนี้แหละที่เราเรียกว่า “Coaching” (การโค้ช) ที่แท้จริง
A (Ask) + S (Solution) = “Coaching” (การโค้ช)
หากคุณใช้คำถามเป็นหลัก แต่เป็นคำถามแบบไม่ชี้นำ เพื่อชวนคิดจนสามารถหา Solution บางอย่างที่ทำให้สามารถปฎิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพได้ สิ่งนี้แหละที่เราเรียกว่า “Coaching” (การโค้ช) ที่แท้จริง


หวังว่า TAPS MODEL ของ Dr.David Rock จะช่วยทำให้องค์กรเข้าใจเกี่ยวกับการ Coaching ได้มากยิ่งขึ้น สำคัญเลยคือ Mentoring และ Coaching






ดู 129 ครั้ง2 ความคิดเห็น

2 Comments

Rated 0 out of 5 stars.
No ratings yet

Add a rating
Unknown member
Aug 25, 2023
Rated 5 out of 5 stars.

Nice!

Like

Unknown member
Aug 24, 2023
Rated 5 out of 5 stars.

Good!

Like

สมัครรับข่าวสารใหม่ ๆ 

และทรัพยากร MindDoJo

bottom of page