top of page

เข้าใจรูปแบบความคิด 3 รูปแบบด้วยคุกกี้ 🍪 🧠

การผสมผสานรูปแบบความคิดสู่การแก้ปัญหา การตัดสินใจ และผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพ รูปแบบความคิดในการแก้ปัญหาและการตัดสินใจ มักจะมีบทบาทที่แตกต่างกันซึ่งเราสามารถแบ่งออกเป็น 3 รูปแบบความคิดหลัก ๆ ได้แก่ความคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytical)  ความคิดวิพากษ์วิจารณ์ (Critical) และความคิดสร้างสรรค์ (Creative) รูปแบบแนวคิดทั้งสามแนวคิดนี้กลายเป็นสิ่งที่เราใช้เพื่อเผชิญความท้าทายและสร้างโซลูชันที่เป็นนวัตกรรมในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ลองมาดูว่าในรายละเอียดรูปความคิดแบบไหนช่วยเราในการสร้างผลลัพธ์แบบไหนได้

การผสมผสานรูปแบบความคิดสู่การแก้ปัญหา การตัดสินใจ และผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพ รูปแบบความคิดในการแก้ปัญหาและการตัดสินใจ มักจะมีบทบาทที่แตกต่างกันซึ่งเราสามารถแบ่งออกเป็น 3 รูปแบบความคิดหลัก ๆ ได้แก่ความคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytical)  ความคิดวิพากษ์วิจารณ์ (Critical) และความคิดสร้างสรรค์ (Creative) รูปแบบแนวคิดทั้งสามแนวคิดนี้กลายเป็นสิ่งที่เราใช้เพื่อเผชิญความท้าทายและสร้างโซลูชันที่เป็นนวัตกรรมในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ลองมาดูว่าในรายละเอียดรูปความคิดแบบไหนช่วยเราในการสร้างผลลัพธ์แบบไหนได้


1.ความคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytical Thinking) 🧐 เกี่ยวข้องกับการแบ่งข้อมูลที่ซับซ้อนออกเป็นองค์ประกอบเล็กๆ เพื่อให้เข้าใจหลักการหรือโครงสร้างพื้นฐานได้ดีขึ้น โดยมุ่งเน้นไปที่การระบุรูปแบบ ความเชื่อมโยง และความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผล

1.ความคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytical Thinking) 🧐 เกี่ยวข้องกับการแบ่งข้อมูลที่ซับซ้อนออกเป็นองค์ประกอบเล็กๆ เพื่อให้เข้าใจหลักการหรือโครงสร้างพื้นฐานได้ดีขึ้น โดยมุ่งเน้นไปที่การระบุรูปแบบ ความเชื่อมโยง และความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผล


2.ความคิดเชิงวิพากษ์ (Critical Thinking) 🧠 รูปแบบความคิดนี้เป็นมากกว่าการคิดเชิงวิเคราะห์ โดยจะเน้นการประเมินบริบทและประเมินข้อมูลอย่างเป็นระบบและเป็นกลาง เพื่อให้เกิดการตั้งคำถามต่อสมมติฐานที่เราตั้งไว้ ป้องกันเรื่องของอคติสู่การพิจารณามุมมองที่หลากหลายก่อนที่จะสรุปหรือตัดสินใจ




2.ความคิดเชิงวิพากษ์ (Critical Thinking) 🧠 รูปแบบความคิดนี้เป็นมากกว่าการคิดเชิงวิเคราะห์ โดยจะเน้นการประเมินบริบทและประเมินข้อมูลอย่างเป็นระบบและเป็นกลาง เพื่อให้เกิดการตั้งคำถามต่อสมมติฐานที่เราตั้งไว้ ป้องกันเรื่องของอคติสู่การพิจารณามุมมองที่หลากหลายก่อนที่จะสรุปหรือตัดสินใจ



3.ความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking)💡เกี่ยวข้องกับการริเริ่มสร้างสรรค์แนวคิด หรือวิธีแก้ปัญหาที่เป็นนวัตกรรมโดยการสำรวจความเป็นไปได้ใหม่ๆ สร้างการเชื่อมโยงที่แหวกแนวและการท้าทายวิธีการเส่งเสริมการคิดนอกกรอบและยอมรับความคลุมเครือ


3.ความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking)💡เกี่ยวข้องกับการริเริ่มสร้างสรรค์แนวคิด หรือวิธีแก้ปัญหาที่เป็นนวัตกรรมโดยการสำรวจความเป็นไปได้ใหม่ๆ สร้างการเชื่อมโยงที่แหวกแนวและการท้าทายวิธีการเส่งเสริมการคิดนอกกรอบและยอมรับความคลุมเครือ







การผสมผสานรูปแบบความคิดเหล่านี้สามารถนำไปสู่การแก้ปัญหาที่ครอบคลุมและการตัดสินใจอย่างมีข้อมูล แม้ว่าแต่ละสไตล์จะมีลักษณะเฉพาะที่แตกต่างกัน แต่ก็สามารถส่งเสริมและสามารถปลูกฝังได้เพื่อเพิ่มความยืดหยุ่นในการรับรู้และความสามารถในการปรับตัวในบริบททางการทำงาน รวมไปถึงการพัฒนาความสามารถในการคิดเชิงวิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ และความคิดสร้างสรรค์


วิธีการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ผสมผสานความคิดที่เป็นนวัตกรรมภายใต้กรอบความสามารถที่่ทำได้จริง คลิก : https://www.minddojo.co.th/creative-problem-solving


Critical Thinking For analysis  Critical Thinking เป็น ‘ทักษะที่จำเป็น’ ของทุกคนในยุคปัจจุบันเพราะโลกแห่งข้อมูลต้องการทักษะทั้งในด้านการคิดวิเคราะห์ข้อมูลจำนวนมาก การแก้ปัญหาที่ซับซ้อน จนไปถึงการตัดสินใจให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีที่สุด การเรียนรู้ฝึกฝนทักษะนี้นั้นจะเกิดขึ้นควบคู่ไปกับทักษะของการแก้ปัญหาและการตัดสินใจ (Online Course)

Critical Thinking For analysis

Critical Thinking เป็น ‘ทักษะที่จำเป็น’ ของทุกคนในยุคปัจจุบันเพราะโลกแห่งข้อมูลต้องการทักษะทั้งในด้านการคิดวิเคราะห์ข้อมูลจำนวนมาก การแก้ปัญหาที่ซับซ้อน จนไปถึงการตัดสินใจให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีที่สุด การเรียนรู้ฝึกฝนทักษะนี้นั้นจะเกิดขึ้นควบคู่ไปกับทักษะของการแก้ปัญหาและการตัดสินใจ (Online Course)




Comments

Rated 0 out of 5 stars.
No ratings yet

Add a rating

สมัครรับข่าวสารใหม่ ๆ 

และทรัพยากร MindDoJo

bottom of page